ผู้วิจัย: นเรศร์ บุญเลิศ
บทคัดย่อ
วิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ เรื่องการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุด้วยพุทธบูรณาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระยะยาว องค์ความรู้ที่เป็นผลการจัดการความรู้ในระดับชุมชนด้านการศึกษาเชิงสำรวจ ข้อมูลและวิธีการใช้ประโยชน์ของนวัตกรรมดิจิทัลชีวิตประจำวัดของผู้สูงอายุอย่างถูกต้องเหมาะสม การจัดการความรู้เพื่อใช้นวัตกรรมดิจิทัลโดยชุมชนมีส่วนร่วมเป็นการสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับผู้สูงอายุ ในการพัฒนาแบบผสมผสานแหล่งความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งความรู้ใหม่ที่สำคัญที่นำไปสู่กระบวนการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง โดยใช้วิธีการศึกษาผสมผสานทั้งการสำรวจ ศึกษาเอกสาร ศึกษาแผนพัฒนาตำบล โดยการสนทนากลุ่มกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการสัมภาษณ์ จากกลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน ๑๐ คน ผู้สูงอายุ จำนวน ๗๐ คน ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวน ๑๐ คน ผู้เกี่ยวข้องจำนวน ๑๐ คน โดยใช้วิธีการเจาะจงตามการศึกษาวิจัยจำนวน ๑๐๐ คน โดยใช้วิธีการเจาะจงตามการศึกษาวิจัย นำข้อมูลมาวิเคราะห์ใน ๒ ประเด็นที่ศึกษา
ผลการวิจัยพบว่า
การศึกษาการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุด้วยพุทธบูรณาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระยะยาว
การใช้ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสุขภาพสร้างความเข้มแข็งชุมชน
จากสภาพองค์ความรู้ของเทคโนโลยีปัจจุบันด้านการใช้ประโยชน์ในด้านส่งผลให้การดูแลผู้สูงอายุในชุมชนไม่ได้นำมาใช้กับวิถีชีวิตของคนชุมชนความหลากหลายอย่างเหมาะสมกับสภาพของชุมชน
การเรียนรู้วิถีชุมชน การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลสุขภาพสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การจัดกิจกรรมในระดับชุมชนจึงไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในการพึ่งพาตนเอง
Research Title: The Development of Digital Technology for the
Elderly with the Buddhist Integrationof Local
Government in the Long Run.
Researcher: Mr. Narate Bunloet
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya
University.
Buddhist Chiang
Rai college,
Fiscal year: 2019
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya
University.
ABSTRACT
This research The development of digital technology model for seniors with Buddhist integration of local governments in the long run. Knowledge is knowledge management in the education community survey. And how to take advantage of innovative digital lifestyle of the elderly are properly measured. Knowledge management for digital innovation, community involvement, creating good health for the elderly. To develop an integrated source of knowledge. local knowledge New knowledge and resources essential to the process of building a strong community. By using a combination of both surveys, study documents the development plan for the district. The focus groups and interviews with local governments. The Group Executive Administrative District 10 seniors were 70 specialist digital technology has 10 people involved, 10 people by means of specific research study of 100 people by means of specific research studies. The data were analyzed in a study two issues.
The research found that Education
to develop a model for older digital technology with the integration of the
Buddhist organization in the long run. The use of digital technology
innovation to build a strong community. From the knowledge of the current
technology utilization, resulting in elderly care in the community is not used
to the way of life of a community of diverse communities of the
state. Learning Lifestyle The development of digital technology, strengthening
community health. Activities at the community level, it is clear that
substantial self-reliance.