หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ

หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาลัยสงฆ์นครพนม

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา        มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คณะ/หน่วยงาน               วิทยาลัยสงฆ์นครพนม

 

หมวดที่

ข้อมูลทั่วไป

๑. รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย           :      หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

          ภาษาอังกฤษ        :      Bachelor of Political Science Program

 

๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย)        :      รัฐศาสตรบัณฑิต

ชื่อย่อ (ไทย)         :      ร.บ.

ชื่อเต็ม (อังกฤษ)    :      Bachelor of Political Science

ชื่อย่อ (อังกฤษ)     :      B.Pol.Sc.

 

๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร

          –

๔. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

จำนวน ๑๔๐ หน่วยกิต

 

๕. รูปแบบของหลักสูตร

  • รูปแบบ

       หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี

๕.๒   ประเภทของหลักสูตร

       หลักสูตรประเภททางวิชาการ

๕.๓   ภาษาที่ใช้

การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย มีเอกสารตำราเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษประกอบ

๕.๔   การรับเข้าศึกษา

รับนิสิตไทยและนิสิตต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี

๕.๕   ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง

๕.๖  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

   ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

 

๖. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๔ ปรับปรุงจากหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต พ.ศ.๒๕๕๙

 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

 มติกรรมการวิทยาลัยสงฆ์นครพนม มีมติเห็นชอบในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๖๓

    เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓

 มติคณะกรรมการประจำคณะสังคมศาสตร์ มีมติเห็นชอบในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๖๓

    เมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓

 สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติเห็นชอบในคราวประชุมครั้งที่ ๘/

    ๒๕๖๓  เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๓

 สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติอนุมัติในคราวประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๖๓

    เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

 

๗. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน

คาดว่าหลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงในปีการศึกษา ๒๕๖๖  

 

๘. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตสามารถเป็น

๑. ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒. พนักงานในสังกัดสำนักงานข้าราชการพลเรือน

๓. ข้าราชการทหาร และตำรวจ

๔. พนักงานฝ่ายบุคคลของภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ

๕. นักการเมือง นักวิชาการศึกษา นักปกครอง ผู้จัดการทั่วไป

๖. เจ้าของกิจการ ประกอบอาชีพอิสระ  

 

๙. ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชนตำแหน่งและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

รหัสเลข ๑๓ หลัก

ตำแหน่ง

ทางวิชาการ

ชื่อสกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

สถาบัน

ปี

๓๙๐๐๑๐๐๕

๔๔๕๑๓

ผศ.

(รัฐศาสตร์)

นายปรีชา

บุญทวี

 

M.A.

 (Politics)

Tilak Maharashtra Vidyapeeth University, India

๒๕๔๙

M.A.

 (Linguistics)

University of Poona , India

๒๕๓๘

พธ.บ.

 (การบริหารการศึกษา)

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๓๖

๑๔๑๐๒๐๐๐๖๗๔๑๓

อาจารย์

นายสุนันท์

คำลุน

 

ร.ม.

(วิชาเอกการปกครอง

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

๒๕๕๙

พธ.บ.

(พระพุทธศาสนา)

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๕๕

๑๔๘๐๑๐๐๑๑๖๙๕๑

อาจารย์

นางสาวปรางทิพย์ มั่นธร

ร.ม.

(การเมืองการปกครอง)

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

๒๕๖๑

ร.บ.

(การเมืองการปกครอง)

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

๒๕๕๔

๓๔๐๐๔๐๐๑๕๔๓๘๘๙

อาจารย์

นายกฤษณา

เสนาเวียง

ร.ม.

รัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

๒๕๕๒

พธ.บ.

(ปรัขญา)

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๔๖

๓๓๓๑๒๐๐๑๖๘๓๗๔

ผศ.

(รัฐศาสตร์)

พระมหาสนอง

ปจฺโจปการี,ดร.

ค.ด.

(อุดมศึกษา)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๕๕๖

อ.ม.

(บาลีและสันสกฤต)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๕๓๙

พธ.บ.

(บริหารรัฐกิจ)

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๓๕

 

๑๐. สถานที่จัดการเรียนการสอน

วิทยาลัยสงฆ์นครพนม เลขที่ ๓๓ หมู่ที่ ๙ ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม ๔๘๑๑๐

 

 

 

 

๑๑. สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

๑๑.๑ สถานการณ์ต่างๆ ของโลกในปัจจุบัน

สถานการณ์ต่างๆ ของโลกในปัจจุบัน ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสารถึงกันอย่างรวดเร็วทั้งโลก ทำให้เกิดการแข่งขันอย่างมากไม่ว่าจะเป็นด้านธุรกิจ ด้านการจัดหา ด้านการพัฒนา ฯลฯ ขณะเดียวกันก็เกิดความร่วมมือ จับตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เป็นการรวมตัวกันเป็นประชาคมยุโรป และการรวมตัวกันเป็นภูมิภาคอาเซียน เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และการศึกษาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสภาพที่เกิดขึ้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับปรุงหลักสูตร ให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่มีการแข่งขันอย่างเข้มข้น เพื่อสร้างบุคลากรในด้านการเมืองการปกครอง การบริหารจัดการภาครัฐ ระหว่างประเทศ และสามารถยืนหยัดได้ในสภาพการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นได้

๑๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

จากข้อ ๑๑.๑ เป็นผลให้สังคมและวัฒนธรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงตามไฟด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรวมกลุ่ม การร่วมมือในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกันไปในทางสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น การพัฒนาหลักสูตร จึงมีความจำเป็นต้องคำนึงถึงความแตกต่างดังกล่าว เพื่อที่ว่าสามารถสร้างคนรุ่นใหม่ ที่พร้อมปรับตัวเองเข้าสู่สภาพของการเปลี่ยนแปลงได้โดยยังคงไว้ซึ่ง เอกลักษณ์และรากเหง้าของตนเอง

๑๑.๓ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและการสื่อสาร

การวางแผนหลักสูตรจะคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม บุคลากรการสื่อสารไร้พรมแดน เปิดเสรีทางการค้าและการเคลื่อนย้ายการทำงาน ทำให้เกิดการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศ การผลิตบุคลากรที่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่มุ่งไปสู่สังคมแห่งความรู้ ที่แข่งขันกันด้วยความรู้ความสามารถและการสื่อสารไร้พรหมแดนในระบบดีจิดอล ซึ่งต้องมีความเป็นมืออาชีพและต้องเรียนรู้ให้เข้าใจที่ลึกซึ่ง ในการใช้งานว่ามีระบบเป็นอย่างไร มีความเข้าใจในผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ที่จะช่วยชี้นำและขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมไทยซึ่งชอบด้วยกฎหมาย

 

๑๒. ผลกระทบจาก ข้อ ๑๑ ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน

๑๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร

ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของสังคมในการสร้างคนรุ่นใหม่ ที่พร้อมปรับตัวเองเข้าสู่สภาพของการเปลี่ยนแปลงได้โดยยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์และรากเหง้าของตนเอง และสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา (TQF) ในการผลิตบุคลากรทางด้านรัฐศาสตร์ที่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่มุ่งไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ที่แข่งขันกันด้วยความรู้ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพ โดยเข้าใจผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ในการช่วยชี้นำและขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงเป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมไทย

๑๒.๒ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน

ผลิตบัณฑิตให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศในด้านสังคมศาสตร์ และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ๙ ประการประกอบด้วย ๑.มีปฏิทาน่าเลื่อมใส ๒.รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ๓.มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา ๔.มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา ๕.มีความใฝ่รู้ใฝ่คิด ๖.มีน้ำใจเสียสละเพื่อส่วนรวม ๗.มีโลกทัศน์กว้างไกล ๘.มีความเป็นผู้นำด้านจิตใจและปัญญา และ ๙.มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม

 

๑๓. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน

๑๓.๑ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น

(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๓๐ หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต

๑๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องเรียน

หมวดวิชาเฉพาะ ในวิชาแกนทางรัฐศาสตร์ วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์ และวิชาเลือกทางด้านรัฐศาสตร์ จำนวน ๗๔ หน่วยกิต

ทั้งนี้ทุกรายวิชาในหลักสูตรเปิดสอนให้นิสิตหลักสูตรอื่นเพื่อให้นิสิตเลือกเรียนเป็นวิชาโท หรือวิชาเลือกเสรีได้ จำนวน ๖ หน่วยกิต

๑๓.๓ การบริหารจัดการ

การบริหารหลักสูตรมีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารและดำเนินงานเกี่ยวกับหลักสูตร ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ ปรับปรุง ติดตาม ประเมินผลและรายงานการดำเนินงานของหลักสูตร/สาขาวิชา การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร เพื่อรักษามาตรฐาน และคุณภาพการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด รวมทั้งมีการดำเนินงานการที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ การบริหารหลักสูตร การควบคุมมาตรฐานหลักสูตร พิจารณาและจัดแบ่งภาระงานสอนให้กับบุคลากรอาจารย์ในหลักสูตร พิจารณาและกรั่นกรองเกรดในรายวิชาที่หลักสูตรได้เป็นผู้ที่พิจารณาเปิดสอนและเป็นผู้ที่มีความสามารถได้รับผิดชอบ โดยหลักสูตรจะมีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรในทุกสัปดาห์ที่ ๓ ของเดือน เพื่อหารือเกี่ยวกับการกำหนดตารางเรียน การพิจารณาประมวลรายวิชาที่สอน ข้อสอบ และการพิจารณาอนุมัติผลการเรียน รวมทั้งวางแผน กำกับติดตามการบริหารหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

หมวดที่

ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

 

๑. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑.๑. ปรัชญา

มุ่งสร้างบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่เปี่ยมไปด้วยความรู้ ควบคู่คุณธรรม มีภาวะผู้นำ ตระหนักถึงอุดมการณ์ประชาธิปไตยบนฐานของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และการเสียสละรับใช้ท้องถิ่น คณะสงฆ์ ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และประชาคมอาเซียน

๑.๒. วัตถุประสงค์

๑.๒.๑ เพื่อผลิตบัณฑิตให้มี คุณธรรมจริยธรรมมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา มีความเสียสละ เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และเคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของสังคม

๑.๒.๒ เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักรัฐศาสตร์ สามารถบูรณาการเข้ากับหลักพุทธธรรมเพื่อประยุกต์ใช้ในปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๑.๒.๓ เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้และพัฒนาทักษะเพื่อการแก้ปัญหาของสังคม

๑.๒.๔ เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะ ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการเปลี่ยนแปลงให้สังคมมีคุณภาพ ยอมรับความแตกต่าง รับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมีความสามารถในการสื่อสารได้อย่างทันสมัย

 

๒. แผนพัฒนาปรับปรุง

          คาดว่าจะดำเนินการให้แล้วเสร็จครบถ้วนภายในรอบปีการศึกษา (๕ ปี)

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ์

หลักฐาน/ตัวบ่งชี้

– ปรับปรุงหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าที่ สกอ. กำหนด

–    พัฒนาหลักสูตรโดยมีพื้นฐานจากหลักสูตรที่ยอมรับกันระดับสากล

–    ติดตามประเมินหลักสูตรอย่างสม่ำเสมอ

–    เชิญผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและเอกชนมามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร

–   รายงานผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้บัณฑิตของผู้บริหารองค์กรซึ่งมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถในการทำงานในระดับดี

–   เอกสารและรายงานการประชุมในการปรับปรุงหลักสูตร

–   รายงานผลการประเมินหลักสูตร

– ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม

–    ติดตามความเปลี่ยนแปลงความต้องการของสังคม

–   รายงานผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้บัณฑิตของสถาบัน/สังคมที่บัณฑิตปฏิบัติงาน

–   ความพึงพอใจในทักษะ ความรู้ ความสามารถในการทำงานของบัณฑิต โดยเฉลี่ยในระดับดี

– พัฒนาบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์จากการนำความรู้ทางการปกครองประยุกต์ใช้การปฎิบัติงานจริง

–    สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการสอนให้ทำงานบริการวิชาการแก่สังคม

–    อาจารย์สายวิชาการได้รับการยอมรับทางผลงานทางวิชาการ

–   ปริมาณงานบริการวิชาการต่ออาจารย์ในหลักสูตร

–   ผลงานทางวิชาการที่ออกเผยแพร่

 

 

 

 

 

หมวดที่

ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการและโครงสร้าง

ของหลักสูตรระบบการจัดการศึกษา

 

๑. ระบบการจัดการศึกษา

๑.๑. ระบบ

ระบบการศึกษาใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ การศึกษาภาคฤดูร้อนกำหนดให้มีระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ ทั้งนี้ข้อกำหนดต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี  พ.ศ.๒๕๖๑ (ภาคผนวก)

๑.๒. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

          กำหนดให้มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน โดยความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นผู้กำหนดเป็นรายภาคการศึกษาไป

๑.๓. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค 

                 (ไม่มี)

๒. การดำเนินการหลักสูตร

๒.๑ วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

                   ภาคต้น           เดือนพฤษภาคม – กันยายน

                   ภาคปลาย        เดือนตุลาคม – มีนาคม

                   ภาคฤดูร้อน      เดือนเมษายน – พฤษภาคม

๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

๒.๒.๑ คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาที่เป็นพระภิกษุ สามเณร

(๑) ต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

(๒) ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๖๑ หรือ

(๓) ต้องผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด

๒.๒.๒ คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาที่เป็นคฤหัสถ์

(๑) ต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

(๒) ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ หรือ

(๓) ต้องผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด

๒.๓ นิสิตแรกเข้าและกลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา

ปัญหานิสิตแรกเข้า

กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา

ปัญหาการปรับตัว

จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้คำปรึกษา โดยเปิดโอกาสให้นิสิตเข้าขอรับการปรึกษาผ่านช่องทางที่มีความหลายหลาย ได้แก่ ชั่วโมงนัดพบอาจารย์ที่ปรึกษา (Home room)ขอเข้าพบที่ห้องพักอาจารย์ตามวัน-เวลาราชการ จดหมายอีเล็กทรอนิคหรือโทรศัพท์

วิธีการเรียนรู้การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และการกำหนดเป้าหมายของนิสิต

การปฐมนิเทศนิสิตใหม่ จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้คำปรึกษา เปิดโอกาสให้นิสิตเข้าขอรับการปรึกษาผ่านช่องทางที่มีความหลายหลาย ได้แก่ ชั่วโมงนัดพบอาจารย์ที่ปรึกษา (Home room)ขอเข้าพบที่ห้องพักอาจารย์ตามวัน-เวลาราชการ จดหมายอีเล็กทรอนิคหรือโทรศัพท์ จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ดูงานในสถาบันศึกษาอื่น รวมทั้งศึกษาดูงานในองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน

ทักษะภาษาอังกฤษ

สนับสนุนให้นิสิตเข้าร่วมโครงการอบรมทักษะภาษาอังกฤษ สอดแทรกเนื้อหาการสอน เอกสารประกอบการสอน และใช้สื่อการสอนที่เป็นภาษาอังกฤษในรายวิชาที่มีความเหมาะสม เพื่อเพิ่มทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนให้แก่นิสิต โดยเฉพาะทักษะการอ่าน และการสรุปความ

 

 

๒.๔ แผนการรับนิสิตและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ ๕ ปี

วิทยาลัยสงฆ์นครพนม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เลขที่ ๓๓ หมู่ ๙  ตำบลธาตุพนม  อำเภอธาตุพนม  จังหวัดนครพนม  ๔๘๑๑๐

ชั้นปีที่

จำนวนรับนิสิตแต่ละปีการศึกษา

๒๕๖๔

๒๕๖๕

๒๕๖๖

๒๕๖๗

๒๕๖๘

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

รวม

๔๕

๙๐

๑๓๕

๑๘๐

๑๘๐

คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา

   

๔๕

๔๕

 

๒.๕ งบประมาณตามแผน

๒.๕.๑. งบประมาณรายรับ(หน่วย:บาท) หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์นครพนม

 

รายละเอียดรายรับ

ปีงบประมาณ

 

 

๒๕๖๔

๒๕๖

๒๕๖

๒๕๖

๒๕๖

ค่าบำรุงการศึกษา

๑๘๐,๐๐๐

๓๖๐,๐๐๐

๕๔๐,๐๐๐

๗๒๐,๐๐๐

๗๒๐,๐๐๐

ค่าลงทะเบียน

๒๗๐,๐๐๐

๕๔๐,๐๐๐

๘๑๐,๐๐๐

๑,๐๘๐,๐๐๐

๑,๐๘๐,๐๐๐

เงินอุดหนุนจากรัฐบาล

๒,๒๕๐,๐๐๐

๒,๒๕๐,๐๐๐

๒,๒๕๐,๐๐๐

๒,๒๕๐,๐๐๐

๒,๒๕๐,๐๐๐

รวมรายรับ

๒,๗๐๐,๐๐๐

๓,๑๕๐,๐๐๐

๓,๖๐๐,๐๐๐

๔,๐๕๐,๐๐๐

๔,๐๕๐,๐๐๐

 

 

 

                  ๒.๕.๒. งบประมาณรายจ่าย(หน่วย:บาท) หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์นครพนม

ตารางแสดงการใช้จ่ายงบประมาณในการบริหารจัดการในช่วงปีงบประมาณ ๒๕๖๒๕๖

หมวด เงิน

ปีงบประมาณ

๒๕๖๔

๒๕๖๕

๒๕๖๖

๒๕๖๗

๒๕๖๘

ก. งบดำเนินการ

๑. ค่าใช้จ่ายบุคลากร

๓๔๕,๖๐๐

๓๔๕,๖๐๐

๓๔๕,๖๐๐

๓๔๕,๖๐๐

๓๔๕,๖๐๐

๒. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๓. ทุนการศึกษา

๔. รายจ่ายระดับวิทยาลัย

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

รวม (ก)

๔๒๕,๖๐๐

๔๒๕,๖๐๐

๔๒๕,๖๐๐

๔๒๕,๖๐๐

๔๒๕,๖๐๐

ข. งบลงทุน

ค่าครุภัณฑ์

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

รวม (ข)

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

รวม (ก) + (ข)

๔๖๕,๖๐๐

๔๖๕,๖๐๐

๔๖๕,๖๐๐

๔๖๕,๖๐๐

๔๖๕,๖๐๐

จำนวนนิสิต

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

๔๕

ค่าใช้จ่ายต่อหัวนิสิต

๑๐,๓๔๘

๑๐,๓๔๘

๑๐,๓๔๘

๑๐,๓๔๘

๑๐,๓๔๘

หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายจ่ายในการผลิตบัณฑิตเฉลี่ย ๑๐,๓๔๘ บาท/คน/ปี

 

          ๒.๖ ระบบการศึกษา

ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน และเป็นไปตาม

๑) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๖๑ (ภาคผนวก)

          ๒.๗ การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา

นิสิตที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาก่อน เมื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ สามารถเทียบโอนหน่วยกิตได้ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อบังคับที่มหาวิทยาลัยกำหนด โดยให้เป็นไปตาม

  • ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการโอนและการเทียบโอนผลการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๖๑ (ภาคผนวก)

 

๓. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน

๓.๑. หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

๓.๑.๑. จำนวนหน่วยกิต  

รวมตลอดหลักสูตร ๑๔๐ หน่วยกิต

 

 

๓.๑.๒. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๖๑ ดังนี้

๑.

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

๓๐

หน่วยกิต

 

๑.๑

วิชาบังคับ

๑๘

หน่วยกิต

 

๑.๒

วิชาเลือก

๑๒

หน่วยกิต

๒.

หมวดวิชาเฉพาะ  

๑๐๔

หน่วยกิต

 

๒.๑

วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา

๓๐

หน่วยกิต

 

๒.๒

วิชาแกนรัฐศาสตร์

๓๓

หน่วยกิต

 

๒.๓

วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์

๓๒

หน่วยกิต

 

๒.๔

วิชาเลือกเฉพาะสาขารัฐศาสตร์

หน่วยกิต

๓.

หมวดวิชาเลือกเสรี

หน่วยกิต

 

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

๑๔๐

หน่วยกิต

         ๓.๑.๓ รายวิชา

          คำอธิบายความหมายของรหัสวิชาและหน่วยกิตประจำวิชา

                 ๑. รหัสประจำวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วยเลข ๖ หลัก มีความหมายดังนี้

                 ๑) เลข ๓ ตัวแรก = ตัวที่ ๑ แสดงคณะ ตัวที่ ๒-๓ แสดงสาขาวิชา

                 ๒) เลข ๓ ตัวหลัง = ตัวที่ ๑ แสดงปีการศึกษา ตัวที่ ๒-๓ แสดงชื่อวิชา

                 ๒. หน่วยกิตประจำวิชา หมายถึง ตัวเลขซึ่งแสดงจำนวนหน่วยกิตและปริมาณการเรียนการสอนของรายวิชานั้นๆ เช่น ๓ (๒-๒-๕) หมายถึง ๓ หน่วยกิต ประกอบด้วยบรรยาย ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ และการศึกษาด้วยตนเอง ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์

 

๑.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  จำนวน  ๓๐  หน่วยกิต

นิสิตทุกคณะต้องศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน  ๓๐  หน่วยกิต  ประกอบด้วย

ก. วิชาบังคับ  จำนวน   ๑๘  หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๑       มนุษย์กับสังคม (ข้อสอบกลาง)                        ๓ (๓-๐-๖)

                   ๐๐๐ ๑๐๒       กฎหมายทั่วไป                                          ๓ (๓-๐-๖)

                    ๐๐๐ ๑๐๓       คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล (ข้อสอบกลาง)    ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๐๔       ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร                           ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๐๕       ปรัชญาเบื้องต้น                                        ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๐๖       คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิจัย                      ๓ (๓-๐-๖)

ข. วิชาเลือก   จำนวน  ๑๒  หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๗       ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง         ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๐๘       เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                  ๓ (๓-๐-๖) 

๐๐๐ ๑๐๙       จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตน                             ๓ (๓-๐-๖) 

๐๐๐ ๑๑๐       ภาษาศาสตร์เบื้องต้น                                   ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๑       ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้                      ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๒       วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่                   ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๓       ตรรกศาสตร์เบื้องต้น                                   ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๔       มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม                                   ๓ (๓-๐-๖)      

๐๐๐ ๑๑๕       เหตุการณ์โลกปัจจุบัน                                  ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๖       ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น                                ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๑๗       ภาษาสันสกฤตชั้นสูง                                   ๓ (๓-๐-๖) 

๐๐๐ ๑๑๘       ภาษาไทยเบื้องต้น                                      ๓ (๓-๐-๖) 

๐๐๐ ๑๑๙       ภาษาไทยชั้นสูง                                         ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๐       ภาษาจีนเบื้องต้น                                       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๑       ภาษาจีนชั้นสูง                                          ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๒       ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น                                     ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๓       ภาษาญี่ปุ่นชั้นสูง                                       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๔       ภาษาฮินดีเบื้องต้น                                     ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๕       ภาษาฮินดีชั้นสูง                                        ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๖       วัฒนธรรมไทย                                          ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๗       มนุษย์กับอารยธรรม                                   ๓ (๓-๐-๖) 

๐๐๐ ๒๒๘       สันติศึกษา                                              ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๒๙       ภาวะผู้นำ                                               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๐       หลักธรรมาภิบาล                                       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๑       การรู้เท่าทันสื่อ                                         ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๒       ความรับผิดชอบต่อสังคม                               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๓       ศาสนาทั่วไป                                            ๓ (๓-๐-๖)

๒.หมวดวิชาเฉพาะ

๒.๑. รายวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต

          นิสิตระดับปริญญาตรีต้องศึกษาวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย

๐๐๐ ๑๓๔       วรรณกรรมพระพุทธศาสนา (ข้อสอบกลาง)           ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๓๕       พระไตรปิฎกศึกษา        (ข้อสอบกลาง)             ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๓๖       ภาษาบาลี                                               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๗       ประวัติพระพุทธศาสนา (ข้อสอบกลาง)                ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๘       เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา(ข้อสอบกลาง) ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๓๙       ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ                               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๔๐       กรรมฐาน ๑                                            ๓ (๒-๒-๕)

๐๐๐ ๒๔๑       กรรมฐาน ๒                                            ๓ (๒-๒-๕)

๐๐๐ ๓๔๒       กรรมฐาน ๓                                            ๓ (๒-๒-๕)

๐๐๐ ๔๔๓       กรรมฐาน ๔                                            ๓ (๒-๒-๕)

 

๒.๒ วิชาแกนรัฐศาสตร์            จำนวน ๓๓ หน่วยกิต

๔๐๑ ๒๐๑       ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น                               ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๒๐๒       ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์                           ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๒๐๓       ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์                ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๐๔       ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๐๕       การวิเคราะห์การเมืองการปกครองของไทย           ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๐๖       ทฤษฎีการเมือง                                         ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๐๗       การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ                     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๐๘       ภาษาอังกฤษในสาขารัฐศาสตร์                        ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๐๙       สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ                       ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๐       ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์                           ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๑๑       กฎหมายปกครอง                                       ๓ (๓-๐-๖)

๒.๓. วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์         จำนวน ๓๒ หน่วยกิต

๔๐๑ ๓๑๒       พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์และการเลือกตั้ง    ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๑๓       การเมือง นโยบายสาธารณะและยุทธศาสตร์ชาติ     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๔       การศึกษาอิสระทางรัฐศาสตร์                          ๓ (๐-๖-๖)

๔๐๑ ๓๑๕       การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาค

                     และส่วนท้องถิ่นของไทย                               ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๖       กฎหมายอาญา                                         ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๗       นวัตกรรมกับการเมืองไทย                                       ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๘       การเมืองกับการสื่อสารทางการเมือง                   ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๑๙       ประสบการณ์วิชารัฐศาสตร์                            ๓ (๐-๖-๖)

๔๐๑ ๔๒๐       สัมมนาปัญหาทางการเมืองการปกครองของไทย      ๒ (๐-๔-๔)

๔๐๑ ๓๒๑       รัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา                    ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๓๒๒       สิทธิมนุษยชนตามแนวพระพุทธศาสนา                ๓ (๓-๐-๖)

๒.๔. วิชาเลือกเฉพาะสาขารัฐศาสตร์       จำนวน ๙ หน่วยกิต

๔๐๑ ๓๒๓       กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                       ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๒๕       กฎหมายลักษณะพยาน                                 ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๒๗       กฏหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม                  ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๒๘       การเมืองการปกครองของประเทศประชาคมอาเซียน ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๒๙       การต่อต้านการทุจริต                                  ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๐       เหตุการณ์ปัจจุบันในการเมืองไทย                     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๑       จิตวิทยาการเมือง                                       ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๒       แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก    ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๓       ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ                     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๔       การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ                    ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๕       พฤติกรรมทางการเมือง                                 ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๖       การเมืองกับธุรกิจ                                       ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๗       ชนชั้นนำทางการเมือง                                  ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๘       สันติวิธีและสมานฉันท์                                  ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๓๙       การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการระดมมวลชน     ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๔๐       การพัฒนาระบบราชการไทย                          ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๔๙       ขบวนการทางสังคมและการเมืองอีสาน                ๓ (๓-๐-๖)

๔๐๑ ๔๕๐       เทคนิคการสอบข้าราชการพลเรือน                   ๓ (๓-๐-๖)

๓.หมวดวิชาเลือกเสรี     จำนวน ๖ หน่วยกิต

นิสิตหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเป็นวิชาเลือกเสรีจำนวนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิตโดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๓.๑.๔. แสดงแผนการศึกษา

แผนการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๔ ปี

ชั้นปีที่  ๑ ภาคการศึกษาที่ ๑

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป       (วิชาบังคับ)

    

๐๐๐ 101

มนุษย์กับสังคม       (ข้อสอบกลาง)

3

3

6

๐๐๐ ๑๐2

กฎหมายทั่วไป

3

3

6

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป       (วิชาเลือก)

    

XXX XXX

XXXXXXXXXXX (วิชาเลือก)

3

3

6

XXX XXX

XXXXXXXXXXX (วิชาเลือก)

3

3

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

    

000 136

ภาษาบาลี

3

3

6

 

หมวดวิชาแกนทางรัฐศาสตร์

    

๔๐๑ ๒๐๑

ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น

3

3

6

 

รวม

18

 

 

 

 

ชั้นปีที่  ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป     (วิชาบังคับ)

 

 

 

 

๐๐๐ 205 

ปรัชญาเบื้องต้น

3

3

6

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (วิชาเลือก)

    

XXX XXX

XXXXXXXXXXX (วิชาเลือก)

3

3

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

    

000 140

กรรมฐาน 1

3

2

2

5

๐๐๐ 23๗

ประวัติพระพุทธศาสนา (ข้อสอบกลาง)

3

3

0

6

 

หมวดวิชาแกนทางรัฐศาสตร์

    

๔๐๑ ๒๐๒

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์

3

3

6

๔๐1 2๐3

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

3

3

0

6

 

รวม

18

 

 

 

ชั้นปีที่  ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   (วิชาบังคับ)

 

 

 

 

๐๐๐ ๑๐3 

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

(ข้อสอบกลาง)

3

3

0

6

000 204

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3

3

0

6

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (วิชาเลือก)

    

XXX XXX

XXXXXXXXXXX

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

 

 

 

 

๐๐๐ ๒38

เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา

(ข้อสอบกลาง)

3

3

0

6

๐๐๐ 23๙

ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ 

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ   (วิชาแกนรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓๐๕

การวิเคราะห์การเมืองการปกครองของไทย

3

3

0

6

 

รวม

18

 

 

 

 

ชั้นปีที่  ๒ ภาคการศึกษาที่ ๒

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   (วิชาบังคับ)

 

 

 

 

๐๐๐ ๒06

คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิจัย

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

    

๐๐๐ 134

วรรณกรรมพระพุทธศาสนา  (ข้อสอบกลาง)

3

๐๐๐ ๑35

พระไตรปิฎกศึกษา   (ข้อสอบกลาง)

3

๐๐๐ ๒๔1 

กรรมฐาน 2

3

2

2

5

 

หมวดวิชาเฉพาะ   (วิชาแกนรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓๐๔

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์)

    
      
 

รวม

1๕

 

 

 

 

 

 

ชั้นปีที่  ๓ ภาคการศึกษาที่ ๑

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาแกนรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓๐๖

ทฤษฎีการเมือง

๔๐๑ ๓๐7

การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

401 311

กฎหมายปกครอง

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓12

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์และการเลือกตั้ง

๔๐๑ ๓๒1

รัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา

401 322

สิทธิมนุษยชนตามแนวพระพุทธศาสนา

 

รวม                     

18

 

 

 

 

 

 

 

 

ชั้นปีที่  ๓ ภาคการศึกษาที่ ๒

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

 

 

 

 

000 443

กรรมฐาน 3

3

2

2

5

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาแกนรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓๐8

ภาษาอังกฤษในสาขารัฐศาสตร์

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๓15

การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นของไทย

401 416

๔๐๑ ๓๑๓

กฎหมายอาญา

การเมือง นโยบายสาธารณะและยุทธศาสตร์ชาติ

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเลือกเฉพาะสาขารัฐศาสตร์)

    

XXX XXX

XXXXXXXXXX (วิชาเลือก)

 

รวม

18

 

 

 

 

 

ชั้นปีที่  4 ภาคการศึกษาที่ ๑

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาแกนรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๔09

สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ   

3

3

0

6

๔๐๑ ๔๑0

ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์  

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๔17

นวัตกรรมกับการเมืองไทย

3

3

0

6

๔๐๑ ๔18

การเมืองกับการสื่อสารทางการเมือง

3

3

0

6

๔๐๑ ๔19

ประสบการณ์วิชารัฐศาสตร์

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเลือกเฉพาะสาขารัฐศาสตร์)

    

401 323

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3

3

0

6

      
 

รวม                     

18

 

 

 

 

 

ชั้นปีที่  4 ภาคการศึกษาที่ ๒

 

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

ทฤษฏี

ปฏิบัติ

เรียนรู้

ด้วยตนเอง

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา)

 

 

 

 

000 443

กรรมฐาน 4

3

2

2

5

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์)

    

๔๐๑ ๔๒0

สัมมนาปัญหาทางการเมืองการปกครองของไทย

๔๐๑ ๔๑๔

การศึกษาอิสระทางรัฐศาสตร์

3

3

0

6

 

หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเลือกเฉพาะสาขารัฐศาสตร์)

    

XXX XXX

XXXXXXXX (วิชาเลือก)

3

3

0

6

XXX XXX

หมวดวิชาเลือกเสรี

XXXXXXXX (วิชาเลือกเสรี)

3

3

0

6

XXX XXX

XXXXXXXX (วิชาเลือกเสรี)

 

รวม

1๗

 

 

 

 

๓.๑.๖. คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (ตามเอกสารในภาคผนวก)

 

          ๓.๒. ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์ประจำหลักสูตร

        (ดูจากหมวดที่ ๑ ข้อ ๙.๑ ใช้อาจารย์ชุดเดียวกันกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร)

 

 

๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา)

หลักสูตรกำหนดให้นิสิตเรียน วิชาประสบการณ์วิชารัฐศาสตร์ (๔๐๑ ๔๒๓) เป็นวิชาที่นิสิตได้ฝึกงาน เกี่ยวกับกิจกรรมทางการเมืองการปกครองภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

 

๕. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย

หลักสูตรกำหนดให้นิสิตเรียนวิชาการศึกษาอิสระทางรัฐศาสตร์ (๔๐๑ ๔๑๖) เป็นวิชาที่นิสิตได้ศึกษาประเด็นปัญหาทางการเมืองการปกครองภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา

๕.๑.คำอธิบายโดยย่อ

ศึกษาค้นคว้าวิจัยภาคสนามทางรัฐศาสตร์หรือเรื่องอื่นโดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา

๕.๒. มาตรฐานผลการเรียนรู้

นิสิตมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัย สามารถทำวิจัยเบื้องต้นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางสังคมได้ และสามารถเขียนผลงานวิจัยเพื่อเป็นสารสนเทศในการสื่อสารได้

๕.๓. ช่วงเวลา

       ภาคการศึกษาที่ ๒ ของปีการศึกษาที่ ๔

๕.๔. จำนวนหน่วยกิต

            ๓ หน่วยกิต

๕.๕. การเตรียมการ

            มีการกำหนดชั่วโมงการให้คำปรึกษา จัดทำบันทึกการให้คำปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมออีกทั้งมีตัวอย่างโครงงานให้ศึกษา

๕.๖. กระบวนการประเมินผล

๕.๖.๑ ผู้สอนและผู้เรียนกำหนดหัวข้อและเกณฑ์การประเมินผลทวนสอบมาตรฐานโดยกำหนดเกณฑ์/มาตรฐานการประเมินผลรายวิชา

๕.๖.๒ ผู้เรียนประเมินผลการเรียนรู้ของตนตามแบบฟอร์ม

๕.๖.๓ ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามแบบฟอร์ม

๕.๖.๔ ทั้งผู้สอนและผู้เรียนประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกัน

๕.๖.๕ ผู้เรียนนำเสนอผลการศึกษาและรับการประเมินโดยผู้สอนประจำรายวิชาทุกคนซึ่งเข้าร่วมฟังการนำเสนอผลการศึกษา

๕.๖.๖ ผู้สอนทุกคนเข้าฟังการนำเสนอผลการศึกษาของผู้เรียน

๕.๖.๗ ผู้ประสานงานรายวิชานำคะแนนทุกส่วนเสนอขอความเห็นชอบจากอาจารย์ประจำวิชาทุกคน ผ่านคณะกรรมการประจำหลักสูตร

 

หมวดที่ ๔

ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

 

๑ การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต

คุณลักษณะพิเศษ

กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต

ด้านบุคลิกภาพ

มีการสอดแทรกเรื่องการสำรวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือการแต่งกาย การเข้าสังคมและศาสนพิธี เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทำงานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และในกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ก่อนที่นิสิตจะสำเร็จการศึกษา

ด้านภาวะผู้นำและความรับผิดชอบตลอดจนมีวินัยในตนเอง

– กำหนดให้มีรายวิชาซึ่งนิสิตต้องทำงานเป็นกลุ่มและมีการกำหนดหัวหน้ากลุ่มในการทำรายงานตลอดจน กำหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอรายงานเพื่อเป็นการฝึกให้นิสิตได้สร้างภาวะผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี

– มีกิจกรรมนิสิตที่มอบหมายให้นิสิตหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดำเนินกิจกรรมเพื่อฝึกให้นิสิตมีความรับผิดชอบ

– มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเองเช่นการเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น

ด้านจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

มีการให้ความรู้แก่นิสิตในการนำเอาความรู้ทางด้านรัฐศาสตร์ไปใช้ในการทำงานที่จะทำให้นิสิตอยู่ร่วมกับคนอื่นและคนในสังคมได้

 

 

๒.แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา  (Curriculum Mapping) แสดงรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้

         ๒.๑ มาตรฐานผลการเรียนรู้ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

          ๑) ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

             ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

                   (๑) มีศีลธรรม และศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา

                   (๒) มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม

                   (๓) เคารพสิทธิ  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

             กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

                   (๑) สอดแทรกเรื่องศีลธรรม ศรัทธา จิตสาธารณะและการเสียสละเพื่อส่วนรวม ในการเรียนการสอน

                   (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน

                         (๓)  เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านศีลธรรม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหา

                      (๔) เรียนรู้จากสถานการณ์จริง และจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน

                 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

                   (๑) สังเกตพฤติกรรมของนิสิตในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง

                   (๒) อภิปราย รายงาน การนำเสนอและการตอบคำถาม

                   (๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

                   (๔) นิสิตประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน

          ๒) ด้านความรู้

             ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) มีความรู้  ความเข้าใจหลักการ  ทฤษฎีและเนื้อหา

                   (๒) ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล

                   (๓) สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง

             กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) สอนแบบบรรยายและใช้โจทย์ปัญหา

                   (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

                   (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

                   (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

                   (๕) ศึกษาดูงาน

             กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

        ๓) ด้านทักษะทางปัญญา

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สามารถค้นหาข้อมูล ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลจากหลักฐาน

                   (๒) สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล

                   (๓) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม   

              กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ

                   (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

                   (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

                   (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

                   (๕) ศึกษาดูงาน

              กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

        ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

              ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สามารถทำงานเป็นทีมทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 

                   (๒) มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล

                   (๓) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

              กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) มอบหมายงานกลุ่ม                                

                   (๒) สอนจากสภาพจริงที่เกิดขึ้นในชุมชนและสังคม

                   (๓) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

                   (๔) ศึกษาดูงาน

              กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการเรียนการสอนและการทำงานร่วมกับเพื่อน

                   (๒) ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย

                   (๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

 

        ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

               ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้

                   (๒) ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด  อ่านและเขียน

                   (๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

                กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) สอนโดยการฝึกปฏิบัติ

                   (๒) มอบหมายงานค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ

                   (๓) นำเสนองานโดยใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

                กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

          แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา                  (Curriculum  Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง

          ๑) ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

             ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

                   (๑) มีศีลธรรม และศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา

                   (๒) มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม

                   (๓) เคารพสิทธิ  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

          ๒) ด้านความรู้

             ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) มีความรู้  ความเข้าใจหลักการ  ทฤษฎีและเนื้อหา

                   (๒) ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล

                   (๓) สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง

         ๓) ด้านทักษะทางปัญญา

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สามารถค้นหาข้อมูล ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลจากหลักฐาน

                   (๒) สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล

                   (๓) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม   

         ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สามารถทำงานเป็นทีมทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 

                   (๒) มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล

                   (๓) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

         ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้

                   (๒) ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด  อ่านและเขียน

                   (๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา ( Curriculum  Mapping)

˜   ความรับผิดชอบหลัก                    ¡ ความรับผิดชอบรอง

รหัสวิชา

รายวิชา

๑. คุณธรรม จริยธรรม

๒. ความรู้

๓. ทักษะทางปัญญา

๔. ทักษะความสัมพันธ์ฯ

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

               

ก. วิชาบังคับ   ๑๘ หน่วยกิต

               

๐๐๐ ๑๐๑

มนุษย์กับสังคม                                                          

 

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

 

˜

  

˜

 

๐๐๐ ๑๐๒

กฎหมายทั่วไป

  

˜

˜

 

˜

˜

˜

   

˜

 

˜

 

๐๐๐ ๑๐๓

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

  

˜

˜

˜

  

˜

˜

˜

   

˜

 

๐๐๐ ๒๐๔

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

  

˜

˜

 

˜

  

˜

 

˜

  

˜

˜

๐๐๐ ๒๐๕

ปรัชญาเบื้องต้น

  

˜

˜

˜

  

˜

  

˜

   

˜

๐๐๐ ๒๐๖

คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิจัย

  

˜

˜

 

˜

˜

˜

    

˜

 

˜

ข. วิชาเลือก ๑๒ หน่วยกิต

               

๐๐๐ ๑๐๗

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง

  

˜

˜

 

˜

 

˜

   

˜

   

๐๐๐ ๑๐๘

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

 

˜

 

˜

 

˜

 

˜

˜

  

˜

˜

 

˜

๐๐๐ ๑๐๙

จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตน

 

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

 

๐๐๐ ๑๑๐

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

   

˜

  

˜

      

˜

 

๐๐๐ ๑๑๑

ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้

  

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

  

˜

˜

˜

˜

๐๐๐ ๑๑๒

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่

   

˜

 

˜

˜

 

˜

  

˜

˜

 

˜

๐๐๐ ๑๑๓

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

   

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

     

๐๐๐ ๑๑๔

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

 

˜

 

˜

 

˜

˜

 

˜

  

˜

   

๐๐๐ ๑๑๕

เหตุการณ์โลกปัจจุบัน

  

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

  

˜

  

˜

๐๐๐ ๑๑๖

ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๑๑๗

ภาษาสันสกฤตชั้นสูง

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๑๑๘

ภาษาไทยเบื้องต้น

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๑๑๙

ภาษาไทยชั้นสูง

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๐

ภาษาจีนเบื้องต้น 

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๑

ภาษาจีนชั้นสูง

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๒

ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๓

ภาษาญี่ปุ่นชั้นสูง

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๔

ภาษาฮินดีเบื้องต้น

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๕

ภาษาฮินดีชั้นสูง

   

˜

   

˜

     

˜

 

๐๐๐ ๒๒๖

วัฒนธรรมไทย

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๒๒๗

มนุษย์กับอารยธรรม

  

˜

˜

˜

 

˜

˜

  

˜

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๒๒๘

สันติศึกษา

 

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

˜

˜

˜

   

๐๐๐ ๒๒๙

ภาวะผู้นำ

 

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

˜

˜

˜

 

˜

 

๐๐๐ ๒๓๐

หลักธรรมาภิบาล

 

˜

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

 

˜

   

๐๐๐ ๒๓๑

การรู้เท่าทันสื่อ

  

˜

˜

˜

 

˜

 

˜

  

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๒๓๒

ความรับผิดชอบต่อสังคม              

  

˜

˜

 

˜

˜

˜

   

˜

   

๐๐๐ ๒๓๓

ศาสนาทั่วไป

  

˜

˜

  

˜

  

˜

 

˜

   

                                                                                                         

 

๒.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้ของวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา

          ๑) ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

             ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

                   (๑) มีศีลธรรม และศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา

                   (๒) มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม

                   (๓) เคารพสิทธิ  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

             กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

                   (๑) สอดแทรกเรื่องศีลธรรม ศรัทธา จิตสาธารณะและการเสียสละเพื่อส่วนรวม ในการเรียนการสอน

                   (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน

                        (๓)  เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านศีลธรรม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหา

                      (๔) เรียนรู้จากสถานการณ์จริง และจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน

                 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

                   (๑) สังเกตพฤติกรรมของนิสิตในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง

                   (๒) อภิปราย รายงาน การนำเสนอและการตอบคำถาม

                   (๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

                   (๔) นิสิตประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน

          ๒) ด้านความรู้

             ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) มีความรู้  ความเข้าใจหลักการ  ทฤษฎีและเนื้อหา

                   (๒) ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล

                   (๓) สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง

             กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) สอนแบบบรรยายและใช้โจทย์ปัญหา

                   (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

                   (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

                   (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

                   (๕) ศึกษาดูงาน

             กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

        ๓) ด้านทักษะทางปัญญา

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สามารถค้นหาข้อมูล ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลจากหลักฐาน

                   (๒) สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล

                   (๓) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 

 

              กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ

                   (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

                   (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

                   (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

                   (๕) ศึกษาดูงาน

              กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

        ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

              ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สามารถทำงานเป็นทีมทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 

                   (๒) มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล

                   (๓) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

              กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) มอบหมายงานกลุ่ม                                

                   (๒) สอนจากสภาพจริงที่เกิดขึ้นในชุมชนและสังคม

                   (๓) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

                   (๔) ศึกษาดูงาน

              กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการเรียนการสอนและการทำงานร่วมกับเพื่อน

                   (๒) ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย

                   (๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

        ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

               ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้

                   (๒) ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด  อ่านและเขียน

                   (๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

                กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) สอนโดยการฝึกปฏิบัติ

                   (๒) มอบหมายงานค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ

                   (๓) นำเสนองานโดยใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

 

                กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                   (๔) นำเสนอผลงาน

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา                  (Curriculum  Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง

          ๑) ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

             ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม  จริยธรรม

                   (๑) มีศีลธรรม และศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา

                   (๒) มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม

                   (๓) เคารพสิทธิ  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

          ๒) ด้านความรู้

             ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

                   (๑) มีความรู้  ความเข้าใจหลักการ  ทฤษฎีและเนื้อหา

                   (๒) ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล

                   (๓) สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง

         ๓) ด้านทักษะทางปัญญา

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สามารถค้นหาข้อมูล ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลจากหลักฐาน

                   (๒) สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล

                   (๓) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม   

         ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สามารถทำงานเป็นทีมทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 

                   (๒) มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล

                   (๓) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

         ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

             ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                   (๑) ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้

                   (๒) ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด  อ่านและเขียน

                   (๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

 

                  

 

 

 

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum  Mapping) วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา

˜ ความรับผิดชอบหลัก  ¡ ความรับผิดชอบรอง

รหัสวิชา

รายวิชา

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู้

ทักษะทางปัญญา

ทักษะความสัมพันธ์ฯ

ทักษะการวิเคราะห์

เชิงตัวเลขฯ

วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา ๓๐ หน่วยกิต

               

๐๐๐ ๑๓๔       

วรรณกรรมพระพุทธศาสนา  

˜

  

˜

˜

 

˜

˜

   

˜

 

˜

 

๐๐๐ ๑๓๕       

พระไตรปิฎกศึกษา

 

˜

 

˜

 

˜

 

˜

˜

 

˜

 

˜

˜

 

๐๐๐ ๑๓๖     

ภาษาบาลี 

˜

  

˜

  

˜

   

˜

  

˜

 

๐๐๐ ๑๓๗

ประวัติพระพุทธศาสนา

˜

 

˜

  

˜

˜

˜

   

˜

˜

 

˜

๐๐๐ ๒๓๘

เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา

 

˜

 

˜

 

˜

  

˜

˜

   

˜

 

๐๐๐ ๒๓๙

ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ 

 

˜

˜

 

˜

  

˜

˜

  

˜

  

˜

๐๐๐ ๑๔๐

กรรมฐาน ๑

˜

 

˜

  

˜

  

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๒๔๑

กรรมฐาน ๒

˜

    

˜

  

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๓๔๒

กรรมฐาน ๓

˜

    

˜

  

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

๐๐๐ ๔๔๓

กรรมฐาน ๔

˜

    

˜

  

˜

 

˜

˜

 

˜

˜

 

 

     ๒.๓ การพัฒนาผลการเรียนเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์

     ๒.๓.๑ วิชาแกนรัฐศาสตร์

๑. คุณธรรม จริยธรรม

ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

๑) ตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม มีความเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต

๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอน

๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน

๓)  เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหา

๔) การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน

 

๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน  สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน

๒) ประเมินจากผลงาน  และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย

๓) ประเมินคุณธรรม  จริยธรรมของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต

๒) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม

๓) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

๔) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม

 

  ๒. ความรู้

 

ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้

๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

๑) บรรยาย

๒) ปฏิบัติการ

๓) ฝึกปฏิบัติ

๔) กิจกรรมในชั้นเรียน

๑) สอบ

๒) รายงาน

๓) แฟ้มสะสมงาน

๔) การสังเกตพฤติกรรม

๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านรัฐศาสตร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือทางรัฐศาสตร์ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม

๓) สามารถติดตามความก้าวหน้า แนวคิดใหม่ๆทางด้านรัฐศาสตร์ พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนำไปประยุกต์ใช้

๔) สามารถบูรณาการความรู้ในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

  1. 3. ทักษะทางปัญญา

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ

๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

๒) รายวิชาปฏิบัติ  ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้  สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้

๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน  โครงงาน  และนำเสนอ

๔) ศึกษาดูงาน  เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง

 

ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติของผู้เรียน ที่เกิดจากการใช้กระบวนเรียนรู้ อย่างเป็นเหตุเป็นผล  ศึกษาค้นคว้า  วิเคราะห์  วิจารณ์  และนำเสนออย่างเป็นระบบ  เช่น  รายงานกรณีศึกษา  การปฏิบัติงานและผลงานของผู้เรียนทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม  พฤติกรรมการเรียนรู้  ในชั้นเรียน  การวัดประเมินผลจากข้อสอบที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนตอบโดยการคิดวิเคราะห์  ด้วยการ นำความรู้ทางหลักการ  ทฤษฎีไปปรับประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมมีเหตุผล

๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ

๔) สามารถประยุกต์ความรู้  และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

         

  1. 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

 ๑) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทำงาน

๑) มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทำงานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบ และการเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม

๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้  ระหว่างผู้เรียน กับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน

๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ การจัดการอารมณ์  การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น

๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียน ระหว่างการเรียนการสอน                  และการทำงานร่วมกับเพื่อน

๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นำเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย

๒) สามารถใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาในศาสตร์ทั้งมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มาชี้นำสังคมมาใช้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

๓) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม

๔) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม

 

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๑) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อสารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

๑) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน  และบุคคลอื่นในสถานการณ์ที่หลากหลาย

๒) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบ

๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลได้อย่างเหมาะสม

๑) ประเมินจากความสามารถในการนำเสนอต่อชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                          หรือคณิตศาสตร์

๒) ประเมินจากความสามารถในการสื่อสาร  การอธิบาย  การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ

๓) ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย

๒) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม

๓) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อสื่อสารอย่างเหมาะสม

 

๒.๓.๒ วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์

                 ๑) คุณธรรม จริยธรรม

                 ผลการเรียนรู้ในตารางมีความหมายดังนี้

                       (๑) ตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม มีความเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต

                       (๒) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม

                       (๓) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์                               (๔) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม

                                                          กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

(๑) สอดแทรกเรื่องศีลธรรมศรัทธาจิตสาธารณะและการเสียสละเพื่อส่วนรวมในการเรียนการสอน

(๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน

(๓) เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านศีลธรรม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหา

(๔) เรียนรู้จากสถานการณ์จริง และจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

(๑) สังเกตพฤติกรรมของนิสิตในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง

(๒) อภิปราย รายงาน การนําเสนอและการตอบคําถาม

(๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

(๔) นิสิตประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน

                 ๒) ความรู้

                       (๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาหลักสูตร                                รัฐศาสตรบัณฑิต

                       (๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านรัฐศาสตร์ รวมทั้งประยุกต์                           ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือทางรัฐศาสตร์ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม

                       (๓) สามารถติดตามความก้าวหน้า แนวคิดใหม่ๆทางด้านรัฐศาสตร์ พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการ                         นำไปประยุกต์ใช้

                       (๔) สามารถบูรณาการความรู้ในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

                   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้

(๑) สอนแบบบรรยายและใช้โจทย์ปัญหา

(๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

(๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

(๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

(๕) ศึกษาดูงาน

                   กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้

(๑) ทดสอบย่อย

(๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

(๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

(๔) นําเสนอผลงาน

 

                 ๓) ทักษะทางปัญญา

                       (๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ

                       (๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

                       (๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ

                       (๔) สามารถประยุกต์ความรู้  และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

                                                กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ

                   (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

                   (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ

                   (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ

                   (๕) ศึกษาดูงาน

                   กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

                   (๑) ทดสอบย่อย

                   (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                   (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

               (๔) นําเสนอผลงาน  

 

                 ๔) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                      (๑) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ                         ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทำงาน

                       (๒) สามารถใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาในศาสตร์ทั้งมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มาชี้นำสังคมมา                        ใช้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

                       (๓) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม

                       (๔) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดง                       จุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม

                                    กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) มอบหมายงานกลุ่ม

                   (๒) สอนจากสภาพจริงที่เกิดขึ้นในชุมชนและสังคม

                   (๓) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

                   (๔) ศึกษาดูงาน

                  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

                   (๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการเรียนการสอนและการทํางานร่วมกับเพื่อน

                   (๒) ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย

                   (๓) พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต

                 ๕) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

      (๑) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อสารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

      (๒) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม

(๓) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อสื่อสารอย่างเหมาะสม

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

                  (๑) สอนโดยการฝึกปฏิบัติ

                  (๒) มอบหมายงานค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ

                  (๓) นําเสนองานโดยใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

                  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                  (๑) ทดสอบย่อย

                  (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน

                  (๓) ผลการรายงานหรืองานที่มอบหมาย

                  (๔) นําเสนอผลงาน        

 

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

˜    ความรับผิดชอบหลัก                    ¡ ความรับผิดชอบรอง

 

รายวิชา

๑. คุณธรรม จริยธรรม

๒. ทักษะด้านความรู้

๓. ทักษะทางปัญญา

๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

๒.๒ วิชาแกนรัฐศาสตร์ จำนวน ๓๓ หน่วยกิต

                   

รหัสวิชา

รายวิชา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๔๐๑ ๒๐๑

ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

˜

¡

˜

¡

˜

¡

˜

๔๐๑ ๒๐๒

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๒๐๓

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๔๐๑ ๓๐๔

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๓๐๕

การวิเคราะห์การเมืองการปกครองของไทย

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

๔๐๑ ๓๐๖

ทฤษฎีการเมือง

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

¡

๔๐๑ ๓๐๗

การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

๔๐๑ ๓๐๘

ภาษาอังกฤษในสาขารัฐศาสตร์

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

๔๐๑ ๔๐๙

สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

๔๐๑ ๔๑๐

ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

๔๐๑ ๓๑๑

กฎหมายปกครอง

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๒.๓ วิชาเฉพาะด้านทางรัฐศาสตร์ จำนวน ๓๒ หน่วยกิต

                 

๔๐๑ ๓๑๒

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์และการเลือกตั้ง

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

๔๐๑ ๓๑๓

การเมือง นโยบายสาธารณะและยุทธศาสตร์ชาติ

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๑๔

การศึกษาอิสระทางรัฐศาสตร์

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

๔๐๑ ๓๑๕

การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นของไทย

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๑๖

กฎหมายอาญา

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๑๗

นวัตกรรมกับการเมืองไทย

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

๔๐๑ ๔๑๘

การเมืองกับการสื่อสารทางการเมือง

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

๔๐๑ ๔๑๙

ประสบการณ์วิชารัฐศาสตร์

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๒๐

สัมมนาปัญหาทางการเมืองการปกครองของไทย

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๓๒๑

รัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๓๒๒

สิทธิมนุษยชนตามแนวพระพุทธศาสนา

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

๒.๔ วิชาเลือกเฉพาะสาขาวิชารัฐศาสตร์ จำนวน ๙ หน่วยกิต

                

๔๐๑ ๓๒๓

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

๔๐๑ ๔๒๕

กฎหมายลักษณะพยาน

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

¡

˜

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

๔๐๑ ๔๒๗

กฏหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๒๘

การเมืองการปกครองของประเทศประชาคมอาเซียน

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

˜

๔๐๑ ๔๔๐

การพัฒนาระบบราชการไทย

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๒๙

การต่อต้านการทุจริต

˜

˜

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๐

เหตุการณ์ปัจจุบันในการเมืองไทย

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๑

จิตวิทยาการเมือง

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

๔๐๑ ๔๓๒

แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

๔๐๑ ๔๓๓

ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๔

การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ

˜

¡

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๕

พฤติกรรมทางการเมือง

˜

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๖

การเมืองกับธุรกิจ

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

˜

¡

¡

˜

¡

๔๐๑ ๔๓๗

ชนชั้นนำทางการเมือง

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

˜

˜

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

˜

¡

˜

๔๐๑ ๔๓๘

สันติวิธีและสมานฉันท์

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๓๙

การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการระดมมวลชน

˜

¡

˜

¡

˜

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๔๙

ขบวนการทางสังคมและการเมืองอีสาน

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๔๐๑ ๔๕๐

เทคนิคการสอบข้าราชการพลเรือน

˜

¡

¡

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

˜

¡

¡

¡

˜

˜

¡

¡

๗๕

๓. ความคาดหวัง และผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา

                เมื่อจบปีการศึกษาชั้นที่ ๑

                   นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๑ นิสิตมีความรู้ทักษะพื้นฐานทางสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์มีทักษะในการใช้ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในการสื่อสาร มีความรู้ลึกซึ้งในพระพุทธศาสนาภาคปฏิบัติ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นและมีจิตสาธารณะดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี

          เมื่อจบปีการศึกษาชั้นที่ ๒

                   นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๒ นิสิตมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติและการวิจัย และภาษาศาสตร์ ที่สามารถนำมาเป็นพื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้งานในวิชาชีพทางรัฐศาสตร์ และมีความรู้ความเข้าใจความรู้พื้นฐานทางสาขาวิชาของรัฐศาสตร์ ซึ่งจำเป็นต่อการเรียนรู้เชิงลึกกทางรัฐศาสตร์ในระดับต่อไป

          นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๓

                   นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๓ นิสิตมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีรวามทั้งทักษะปฏิบัติในสาขาวิชารัฐสาสตร์ โดยเฉพาะสามารถวิเคราะห์การเมืองการปกครงอของไทย สถาบันทางการเมืองและรัฐธรรมนูญ และสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบการเมืองการปกครองของประเทศต่าง ๆ ในประชาคมอาเซียนได้ และบูรณาการวิชาการทางรัฐศาสตร์เชื่อมโยงสู่บริบทการเมืองการปกครองของประเทศและมีความสารมารถในการรู้เท่าทันปรากฏณ์ทางสังคม โดยใช้วิธีการทางกฏหมายและกฏหมายอาญาได้อย่างชัดเจน

          นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๔

                   นิสิตเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ ๔ นิสิตมีความเชี่ยวชาญในวิชาการทางรัฐศาสตร์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ได้ประสบการณ์จริงโดยการทำทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในหน่วยงานผ่านโครงการที่ตนเองรับผิดชอบได้เป็นอย่างดี พร้อมทั้งสามารบูรณราการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการะบวนการคิดอย่างเป็นระบบและสามารถแก้ไขปัญหาจาการสะสมประสบการณ์จากภาควิชาการที่ศึกษาและประสบการณ์จากสถานการณ์จริง สามารถวิเคราะห์ แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ไขต่อสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ สรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนภาษาไทย และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างถูกต้องเป็นอย่างดีเหมาะสม การปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างของคนดีตามหลักประชาธิปไตยและแนวทางตามหลักพระพุทธศาสนาที่ส่งผลให้สังคมน่าอยู่มากขึ้น